กระดาษชำระจากนมบูด ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ของอิตาลี

SA Game

ภาพจาก pixabay

สินค้าที่มีความต้องการสูงอย่าง กระดาษชำระ ในช่วง “โควิด -19” จนนำไปสู่การขาดตลาด

อิตาลี ถือว่าเป็นประเทศที่มีประชาชนใช้ และกักตุนกระดาษชำระปริมาณสูง เนื่องจากมีความต้องการใช้ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่“โควิด -19” จนนำไปสู่การขาดตลาด

เรื่องดังกล่าวนำไปสู่ความแนวทางการคิดค้นและพัฒนาใน อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษชำระ เนื่องจากต้องใช้เยื่อกระดาษจำนวนมาก ทำให้นักอนุรักษ์กังวลใจอย่างมาก จนต้องช่วยกันหาทางออก โดยการมองหาวัสดุอื่น ๆ ที่ใช้แทนกระดาษ

จากความพยามดังกล่าวนำไปสู่การค้นพบที่น่าสนใจและเป็นทางเลือกที่ดี นั้นคือ “นมเปรี้ยว”  มันคือสิ่งที่เหลือทิ้งมาจากภาคเกษตร ถึงแม้ในปัจจุบันนี้ ทางเลือกดังกล่าวจะมีปริมาณวัตถุดิบไม่เพียงพอต่อความต้องการ เนื่องจากสามารถผลิตในปริมาณน้อย

SA Game
ภาพจาก pixabay

แต่เรื่องดังกล่าวถือได้ว่าเป็นโครงการนำร่องที่น่าสนใจและอาจนำไปสู่การพัฒนาทั้งในด้านคุณภาพและ ปริมาณได้ในอนาคตข้างหน้า และเป็นหนึ่งในการเลือกที่ดี โดยนมเปรี้ยวที่ใช้ในการผลิตนั้นบริษัท ผู้ผลิตได้นำเข้านมมาจากประเทศเยอรมนี

การพัฒนาเส้นใยและการทอผ้า ที่มีคุณสมบัติไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้ โดยนำนมมาเป็นส่วนย่อยของโปรตีนที่ทำจากแป้ง ผงโปรตีนนมเข้าสู่กระบวนการผลิตปริมาณโปรตีน ในปริมาณที่ระบุว่าเส้นใยจากโปรตีนจะช่วยลดการเกิดอาการแพ้

จากแนวคิดดังกล่าว จึงมีการพัฒนาโปรตีนนมบูดมาผลิตเป็นกระดาษชำระระดับพรีเมียมสำหรับตลาดบนเน้นคุณสมบัติสบายผิวและไม่ทำให้เกิดอาการแพ้ ทางผู้คิดค้นจึงได้จับมือกับบริษัท บริษัท ลูคาร์ทฯ (Lucart) ซึ่งเป็นผู้ผลิตกระดาษและกระดาษชำระ ราย ใหญ่ของอิตาลี เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกัน

โดยกระดาษชำระจากโปรตีนนมต้องใช้วัตถุดิบในการผลิตจากต่างประเทศถึง 1,000 ตัน ต่อครั้งเพื่อผลิตกระดาษชำระในนาม ผลิตภัณฑ์ของ บริษัท เปิดตัวออกสู่ตลาดภายใต้ชื่อกระดาษชำระของ เท็กซัส (อ่อนโยน) และมีวางจำหน่ายในประเทศอิตาลีเท่านั้น

วัตถุดิบในการผลิตบริษัทได้ทำการรับซื้อจากผู้บริโภค และ ชาวไร่ ในประเทศเยอรมนี โดยการทำสัญญาซื้อขายระยะยาว 4 ปี ที่ผ่านมาโครงการนี้ไม่ได้เป็นแค่วัสดุทางเลือกใหม่เพื่อการผลิตกระดาษชำระแต่ก็ยังช่วยเสริมรายได้ให้กับเกษตรกรด้วย

เกษตร และ บทวิเคราะห์ เทคโนโลยีทางการเกษตร ตลาดขายพืชผลทางการเกษตร ผลกระทบทางการเกษตร งบประมาณและนโยบายรัฐเพื่อการเกษตร และการส่งออกพืชผลทางการเกษตร ที่ได้รับความสนใจ ติดตามได้ที่ doodido

ที่มา นสพ. ฐานเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3,562